สร้างเกม Unity - เขียนโปรแกรมเบื้องต้น ตอนที่ 3 Oparetor
สร้างเกมวันนี้ เรายังคงอยู่กัับการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น เพื่อนๆคนไหนที่มีพื้นฐานอยู่แล้ว ให้ข้ามไปดูบทความอื่นๆได้เลยครับ http://unity3d-thailand.blogspot.com/p/blog-page_63.html
โอเปอร์เรเตอร์ หรือ เครื่องหมายดำเนินการ เป็นการกระทำกับชุดของตัวแปรบนภาษาต่างๆ ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ และสามารถแยกย่อยออกเป็นหลายส่วน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น การ บวก ลบ คูณ หาร เปรียบเทียบค่า เพิ่ม ลด และอื่น ๆ ซึ่งหลัก ๆ แล้วจะประกอบด้วยดังนี้
- เครื่องหมายดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmatic Operator) เช่น + , - , * , / , %
- เครื่องหมายเพิ่มค่าและลดค่า ++ , --
- เครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบ (Compare Operator) เช่น < , > , <= , >= , != , ==
ตัวอย่างที่แล้ว มี บวก ลบ คูณ หาร เหลืออีกอย่าง คือ % เป็นการหาร แต่เอาค่าเศษแทน
เช่น 5 หาร 2 ได้ 2 เศษ 1 ตามที่เคยเรียนมาในสมัยประถม ซึ่งในเชิงโปรแกรมมิ่งนั้น ใช้เครื่องหมาย % ในการหาค่าเศษนั่นเองครับ
< น้อยกว่า หรือไม่
> มากกว่า หรือไม่
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ หรือไม่
>= มากกว่าเท่ากับ หรือไม่
!= ไม่เท่ากับ หรือไม่
== เท่ากับ หรือไม่
เมื่อเทียบค่ากันแล้วจะได้ค่าที่ได้เป็น true หรือ false ตัวอย่าง
*หมายเหตุ ทุกตัวอย่างในบทความนี้ ค่าที่ได้นั้นสามารถนำไปเก็บในตัวแปรหรือว่าไปใช่งานในส่วนอื่นต่อได้
บทความนี้ก็เป็นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นเท่านั่น ซึ่งเป็นพื้นในการที่เราจะสร้างเกมด้วย unity ได้ในอนาคตต่อไปครับ
โอเปอร์เรเตอร์ หรือ เครื่องหมายดำเนินการ เป็นการกระทำกับชุดของตัวแปรบนภาษาต่างๆ ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ และสามารถแยกย่อยออกเป็นหลายส่วน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น การ บวก ลบ คูณ หาร เปรียบเทียบค่า เพิ่ม ลด และอื่น ๆ ซึ่งหลัก ๆ แล้วจะประกอบด้วยดังนี้
- เครื่องหมายดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmatic Operator) เช่น + , - , * , / , %
- เครื่องหมายเพิ่มค่าและลดค่า ++ , --
- เครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบ (Compare Operator) เช่น < , > , <= , >= , != , ==
ตัวอย่างที่แล้ว มี บวก ลบ คูณ หาร เหลืออีกอย่าง คือ % เป็นการหาร แต่เอาค่าเศษแทน
เช่น 5 หาร 2 ได้ 2 เศษ 1 ตามที่เคยเรียนมาในสมัยประถม ซึ่งในเชิงโปรแกรมมิ่งนั้น ใช้เครื่องหมาย % ในการหาค่าเศษนั่นเองครับ
ผลลัพธ์
ต่อมาดูตัวอย่าง เครื่องหมายเพิ่มค่าและลดค่า ++ , --
ผลลัพธ์
ตัวแปร up จะเพิ่มค่าทีละหนึ่ง แต่จะทำงานบรรทัดนั้นเสร็จก่อนถึงจะเพิ่มค่าทีหลัง
เช่นเดียวกัน ตัวแปร down จะเป็นการลดค่าทีละหนึ่ง
ซึ่งเราสามารถเพิ่มค่าและกำหนดค่าให้ตัวแปรนั้นก่อนแสดงผลได้ ดังนี้
ผลลัพธ์
*หมายเหตุค่าจะถูกเปลี่ยนและถือเป็นการกำหนดค่าให้ตัวแปรไปใหม่เลย
> มากกว่า หรือไม่
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ หรือไม่
>= มากกว่าเท่ากับ หรือไม่
!= ไม่เท่ากับ หรือไม่
== เท่ากับ หรือไม่
เมื่อเทียบค่ากันแล้วจะได้ค่าที่ได้เป็น true หรือ false ตัวอย่าง
ผลลัพธ์
*หมายเหตุ ทุกตัวอย่างในบทความนี้ ค่าที่ได้นั้นสามารถนำไปเก็บในตัวแปรหรือว่าไปใช่งานในส่วนอื่นต่อได้
บทความนี้ก็เป็นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นเท่านั่น ซึ่งเป็นพื้นในการที่เราจะสร้างเกมด้วย unity ได้ในอนาคตต่อไปครับ
Post a Comment